เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ปริญญานิพนธ์ ของ เอราวรรณ ศรีจักร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุjงหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทันทีที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดแบบฝึกทักษะ กลุ่มัตวอย่างที่ใช้ ในการศึกษา
เป็นเด็กนักเรียน ชาย - หญิงอายุ 4 - 5 ปี กาลังศึกษาอย่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่
2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร จํานวน 15 คน เพื่อให้เด็กได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ และแบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่มีค่าความ
เชื่อมั่นทั้งฉบบเท่าากับ .77 ใช้แบบแผนการวิจัย แบบ One - Group Pretest - Posttest Design และ
วิเคราะหข้อมูลโดยใช้สถติ t - test Dependent
ผลการศกษาพบว่า
การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก และจําแนกรายทักษะมีค่าเฉลยคะแนนสูงขึ้นทุกทักษะ
ทักษะ อยในระดับดีมาก 3 ทักษะ คือ ทักษะการสงเกต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการลงความเห็น
และอยู่ในระดบดี 1 ทักษะ คือ ทักษะการจําแนกประเภท เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการ
ทดลอง พบ่าว แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .01
คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างแผนการสอน
คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
หลักการและเหตุผล
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่กําหนดหัวเรื่องการเรียนตามชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการ
เรียนรู้ (Brain - Based Learning) ซึ่งวิธีการสอนเน้นผ้เรียนเป็นสําคญั ผูู้เรียนกระทำด้วยความคิด
การแสดงออกอย่างมีเหตุมีผล ตามมโนทศน์ของเรื่องทเรี่ยน และทําชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตรื
ทุกครั้งในการเรียนรโดยมีเจตนาเพื่อใช้ในการทบทวน ฝึกการขีดเขยนจากการสังเกต การจําแนก
ประเภท การสื่อสาร และการลงความเห็น ซึ่งตรงกับการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวยและเป็นการส่งเสริมการทางานของสมองซีกซ้าย และซีกขวาของผู้เรียนให้ทำงาน
สัมพันธ์กันอย่างมีคุณภาพ ซึ่งส่งผลทําให้เป็นผู้มีความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์มีทักษะใน
การแก้ปัญหาต่างๆ สามารถพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และผู้อื่นได้ดีทั้งนี้
ครูมีบทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่อบอุุ่น เพลิดเพลิน
แสดงการยอมรับในความสามารถและความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมชี้แนะ และเสริมข้อความรู้
ที่ผู้เรียนค้นพบจากชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์และรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ให้เกิดกับเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
หลักการจัดกิจกรรม
1. กิจกรรมนี้จัดในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์
2. การปฏิบัตกิจกรรมดําเนินตามลําดับขนตอนดังนี้
2.1 ขั้นนํา
เตรียมเด็กนักเรียนให้พร้อมเรียนโดยจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การสนทนา เล่านิทาน ร้องเพลง ปริศนาคําทาย เพื่อนําเข้าสู่บทเรียน ครูบอกจุดมุ่งหมายการเรียน
2.2 ขั้นสอน แบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ครูดาเนินกิจกรรมการสอน โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมที่เน้นการกระทําด้วยความคิด การแสดงออก เรียนรูู้แบบรวมมือ เรียนรู้ด้วยการค้นพบ และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งในการเรียนรู้แต่ละเรื่องเด็กจะได้เข้าร่วมกิจกรรม
การนําเสนอผลงาน การประเมินการเรียนรู้ร่วมกับครูโดยครูเป็นผู้ประเมินหรือตั้งคำถามให้เด็ก
ประเมินตนเองและเพื่อน
ตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝึกทักษะตามมโนทศน์ของเรื่องที่เรียน
2.3 ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียนหรือนําเสนอผลงานในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ตอบคําถาม สาธิต หรือเสนอผลงาน
บทบาทครู
1. การสร้างแผนกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
1.1 ศึกษาชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้(Brain - Based Learning)
1.2 ศึกษาหลักสูตรตร พุทธศักราช 2546 และแผนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์
1.3 กําหนดหัวเรื่องตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียนในแต่ละหน้าของชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
1.4 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2. การนําแผนไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2.1 ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนลงมือจัดกิจกรรม
2.2 จัดเตรียมสื่ออุปกรณ์ประกอบกิจกรรมให้พร้อม
2.3 เตรียมความพร้อมของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่ครูเลือกสรรเพื่อนําเข้าสู่เรื่องที่เรียน
2.4 บอกจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการสอน
2.5 ดําเนินกิจกรรมการสอนตามแผนการสอน ซึ่งขณะดําเนินกิจกรรมครูต้องประเมินการเรียนการสอนตลอดเวลาว่ากิจกรรมนั้นกระตุ้นให้คิดหรือไม่ ผู้เรียนได้แสดงออกจริงไหม เรียนรู้วิทยาศาสตร์หรือไม่ เด็กเรียนอะไรเพิ่มเติม
2.6 ผูุ้เรียนนําเสนอผลงาน โดยครูวิเคราะห์ผลงานและป้อนข้อมูลกลับให้ผู้เรียน ข้อผิดข้อถูกและข้อความรู้เพิ่มเติม โดยบรรยากาศการเรียนต้องมีความเป็นกันเอง หลีกเลี่ยงการพูดหรือการกระทําที่ทําให้ผู้เรียนเกิดความคับข้องใจหรืออาย ครูต้องตระหนักในความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมแสดงการยอมรับช่วยชี้แนะและเสริมข้อความรู้ที่ทําให้ผู้เรียนค้นพบและเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด
2.7 จูงใจให้ผู้เรียนสนใจกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ต้องทําให้ผู้เรียนเห็นว่าครูใส่ใจต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเสมอ พร้อมชี้แนะสิ่งที่นําไปสู่การเรียนรตามจุดประสงค์
2.8 ใกลชิดกับผู้เรียน ติดตามการเรียนรู้เข้าร่วมในการทํางานกับผู้เรียนด้วยการแจกอุปกรณ์ด้วยตนเอง 2.9 สรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียน
2.10 ให้เด็กทําแบบฝึกทกษะตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียน
2.11 เริ่มการสอนตรงตามเวลาและมีการยืดหยุ่นตามความเหมาะสมของแต่ละกิจกรรม
บทบาทเด็ก
1. ปฏิบัติการคิดและการแสดงออกด้วยตนเองและร่วมกับกลุ่มในการทํากิจกรรมทุกครั้ง
2. ทําแบบฝึกทักษะ
3. นําเสนอผลงาน
4. ประเมินการเรียนรูู้ร่วมกบครู
ปริญญานิพนธ์ ของ เอราวรรณ ศรีจักร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุjงหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทันทีที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดแบบฝึกทักษะ กลุ่มัตวอย่างที่ใช้ ในการศึกษา
เป็นเด็กนักเรียน ชาย - หญิงอายุ 4 - 5 ปี กาลังศึกษาอย่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่
2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร จํานวน 15 คน เพื่อให้เด็กได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ และแบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่มีค่าความ
เชื่อมั่นทั้งฉบบเท่าากับ .77 ใช้แบบแผนการวิจัย แบบ One - Group Pretest - Posttest Design และ
วิเคราะหข้อมูลโดยใช้สถติ t - test Dependent
ผลการศกษาพบว่า
การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก และจําแนกรายทักษะมีค่าเฉลยคะแนนสูงขึ้นทุกทักษะ
ทักษะ อยในระดับดีมาก 3 ทักษะ คือ ทักษะการสงเกต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการลงความเห็น
และอยู่ในระดบดี 1 ทักษะ คือ ทักษะการจําแนกประเภท เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการ
ทดลอง พบ่าว แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .01
คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างแผนการสอน
คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
หลักการและเหตุผล
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่กําหนดหัวเรื่องการเรียนตามชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการ
เรียนรู้ (Brain - Based Learning) ซึ่งวิธีการสอนเน้นผ้เรียนเป็นสําคญั ผูู้เรียนกระทำด้วยความคิด
การแสดงออกอย่างมีเหตุมีผล ตามมโนทศน์ของเรื่องทเรี่ยน และทําชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตรื
ทุกครั้งในการเรียนรโดยมีเจตนาเพื่อใช้ในการทบทวน ฝึกการขีดเขยนจากการสังเกต การจําแนก
ประเภท การสื่อสาร และการลงความเห็น ซึ่งตรงกับการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวยและเป็นการส่งเสริมการทางานของสมองซีกซ้าย และซีกขวาของผู้เรียนให้ทำงาน
สัมพันธ์กันอย่างมีคุณภาพ ซึ่งส่งผลทําให้เป็นผู้มีความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์มีทักษะใน
การแก้ปัญหาต่างๆ สามารถพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และผู้อื่นได้ดีทั้งนี้
ครูมีบทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่อบอุุ่น เพลิดเพลิน
แสดงการยอมรับในความสามารถและความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมชี้แนะ และเสริมข้อความรู้
ที่ผู้เรียนค้นพบจากชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์และรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ให้เกิดกับเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
หลักการจัดกิจกรรม
1. กิจกรรมนี้จัดในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์
2. การปฏิบัตกิจกรรมดําเนินตามลําดับขนตอนดังนี้
2.1 ขั้นนํา
เตรียมเด็กนักเรียนให้พร้อมเรียนโดยจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การสนทนา เล่านิทาน ร้องเพลง ปริศนาคําทาย เพื่อนําเข้าสู่บทเรียน ครูบอกจุดมุ่งหมายการเรียน
2.2 ขั้นสอน แบ่งเป็น 2 ตอน
ตอนที่ 1 ครูดาเนินกิจกรรมการสอน โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมที่เน้นการกระทําด้วยความคิด การแสดงออก เรียนรูู้แบบรวมมือ เรียนรู้ด้วยการค้นพบ และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งในการเรียนรู้แต่ละเรื่องเด็กจะได้เข้าร่วมกิจกรรม
การนําเสนอผลงาน การประเมินการเรียนรู้ร่วมกับครูโดยครูเป็นผู้ประเมินหรือตั้งคำถามให้เด็ก
ประเมินตนเองและเพื่อน
ตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝึกทักษะตามมโนทศน์ของเรื่องที่เรียน
2.3 ขั้นสรุป
เด็กและครูร่วมกันสรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียนหรือนําเสนอผลงานในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ตอบคําถาม สาธิต หรือเสนอผลงาน
บทบาทครู
1. การสร้างแผนกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
1.1 ศึกษาชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้(Brain - Based Learning)
1.2 ศึกษาหลักสูตรตร พุทธศักราช 2546 และแผนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์
1.3 กําหนดหัวเรื่องตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียนในแต่ละหน้าของชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
1.4 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2. การนําแผนไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2.1 ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนลงมือจัดกิจกรรม
2.2 จัดเตรียมสื่ออุปกรณ์ประกอบกิจกรรมให้พร้อม
2.3 เตรียมความพร้อมของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่ครูเลือกสรรเพื่อนําเข้าสู่เรื่องที่เรียน
2.4 บอกจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการสอน
2.5 ดําเนินกิจกรรมการสอนตามแผนการสอน ซึ่งขณะดําเนินกิจกรรมครูต้องประเมินการเรียนการสอนตลอดเวลาว่ากิจกรรมนั้นกระตุ้นให้คิดหรือไม่ ผู้เรียนได้แสดงออกจริงไหม เรียนรู้วิทยาศาสตร์หรือไม่ เด็กเรียนอะไรเพิ่มเติม
2.6 ผูุ้เรียนนําเสนอผลงาน โดยครูวิเคราะห์ผลงานและป้อนข้อมูลกลับให้ผู้เรียน ข้อผิดข้อถูกและข้อความรู้เพิ่มเติม โดยบรรยากาศการเรียนต้องมีความเป็นกันเอง หลีกเลี่ยงการพูดหรือการกระทําที่ทําให้ผู้เรียนเกิดความคับข้องใจหรืออาย ครูต้องตระหนักในความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมแสดงการยอมรับช่วยชี้แนะและเสริมข้อความรู้ที่ทําให้ผู้เรียนค้นพบและเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด
2.7 จูงใจให้ผู้เรียนสนใจกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ต้องทําให้ผู้เรียนเห็นว่าครูใส่ใจต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเสมอ พร้อมชี้แนะสิ่งที่นําไปสู่การเรียนรตามจุดประสงค์
2.8 ใกลชิดกับผู้เรียน ติดตามการเรียนรู้เข้าร่วมในการทํางานกับผู้เรียนด้วยการแจกอุปกรณ์ด้วยตนเอง 2.9 สรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียน
2.10 ให้เด็กทําแบบฝึกทกษะตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียน
2.11 เริ่มการสอนตรงตามเวลาและมีการยืดหยุ่นตามความเหมาะสมของแต่ละกิจกรรม
บทบาทเด็ก
1. ปฏิบัติการคิดและการแสดงออกด้วยตนเองและร่วมกับกลุ่มในการทํากิจกรรมทุกครั้ง
2. ทําแบบฝึกทักษะ
3. นําเสนอผลงาน
4. ประเมินการเรียนรูู้ร่วมกบครู