วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สรุปวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดฝึกทักษะ

เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ


ปริญญานิพนธ์ ของ เอราวรรณ ศรีจักร


 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ



    การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุjงหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทันทีที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดแบบฝึกทักษะ กลุ่มัตวอย่างที่ใช้ ในการศึกษา
เป็นเด็กนักเรียน ชาย - หญิงอายุ 4 - 5 ปี กาลังศึกษาอย่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษาที่
2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร จํานวน 15 คน เพื่อให้เด็กได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที
    เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ แผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ และแบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่มีค่าความ
เชื่อมั่นทั้งฉบบเท่าากับ .77 ใช้แบบแผนการวิจัย แบบ One - Group Pretest - Posttest Design และ
วิเคราะหข้อมูลโดยใช้สถติ t - test Dependent

 ผลการศกษาพบว่า
การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก และจําแนกรายทักษะมีค่าเฉลยคะแนนสูงขึ้นทุกทักษะ
ทักษะ อยในระดับดีมาก 3 ทักษะ คือ ทักษะการสงเกต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการลงความเห็น
และอยู่ในระดบดี 1 ทักษะ คือ ทักษะการจําแนกประเภท เมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการ

ทดลอง พบ่าว แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .01

คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์

ตัวอย่างแผนการสอน



คู่มือการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์

หลักการและเหตุผล

          การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่กําหนดหัวเรื่องการเรียนตามชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการ
เรียนรู้ (Brain - Based Learning) ซึ่งวิธีการสอนเน้นผ้เรียนเป็นสําคญั ผูู้เรียนกระทำด้วยความคิด
การแสดงออกอย่างมีเหตุมีผล ตามมโนทศน์ของเรื่องทเรี่ยน และทําชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตรื
ทุกครั้งในการเรียนรโดยมีเจตนาเพื่อใช้ในการทบทวน ฝึกการขีดเขยนจากการสังเกต การจําแนก
ประเภท การสื่อสาร และการลงความเห็น ซึ่งตรงกับการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวยและเป็นการส่งเสริมการทางานของสมองซีกซ้าย และซีกขวาของผู้เรียนให้ทำงาน
สัมพันธ์กันอย่างมีคุณภาพ ซึ่งส่งผลทําให้เป็นผู้มีความฉลาดทางปัญญาและอารมณ์มีทักษะใน
การแก้ปัญหาต่างๆ สามารถพัฒนาตนเองให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และผู้อื่นได้ดีทั้งนี้
ครูมีบทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่อบอุุ่น เพลิดเพลิน
แสดงการยอมรับในความสามารถและความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมชี้แนะ และเสริมข้อความรู้
ที่ผู้เรียนค้นพบจากชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์และรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร์ให้เกิดกับเด็กปฐมวัย

จุดมุ่งหมาย

เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

หลักการจัดกิจกรรม

1. กิจกรรมนี้จัดในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์
 2. การปฏิบัตกิจกรรมดําเนินตามลําดับขนตอนดังนี้

 2.1 ขั้นนํา

เตรียมเด็กนักเรียนให้พร้อมเรียนโดยจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การสนทนา เล่านิทาน ร้องเพลง ปริศนาคําทาย เพื่อนําเข้าสู่บทเรียน ครูบอกจุดมุ่งหมายการเรียน

 2.2 ขั้นสอน แบ่งเป็น 2 ตอน

ตอนที่ 1 ครูดาเนินกิจกรรมการสอน โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมที่เน้นการกระทําด้วยความคิด การแสดงออก เรียนรูู้แบบรวมมือ เรียนรู้ด้วยการค้นพบ และทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งในการเรียนรู้แต่ละเรื่องเด็กจะได้เข้าร่วมกิจกรรม
การนําเสนอผลงาน การประเมินการเรียนรู้ร่วมกับครูโดยครูเป็นผู้ประเมินหรือตั้งคำถามให้เด็ก
ประเมินตนเองและเพื่อน
ตอนที่ 2 ทําชุดแบบฝึกทักษะตามมโนทศน์ของเรื่องที่เรียน

 2.3 ขั้นสรุป

เด็กและครูร่วมกันสรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียนหรือนําเสนอผลงานในแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ด้วยกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ตอบคําถาม สาธิต หรือเสนอผลงาน

บทบาทครู

1. การสร้างแผนกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

 1.1 ศึกษาชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้(Brain - Based Learning)
 1.2 ศึกษาหลักสูตรตร พุทธศักราช 2546 และแผนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์
 1.3 กําหนดหัวเรื่องตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียนในแต่ละหน้าของชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
 1.4 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

2. การนําแผนไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ

 2.1 ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนลงมือจัดกิจกรรม
 2.2 จัดเตรียมสื่ออุปกรณ์ประกอบกิจกรรมให้พร้อม
 2.3 เตรียมความพร้อมของผู้เรียนด้วยกิจกรรมที่ครูเลือกสรรเพื่อนําเข้าสู่เรื่องที่เรียน
 2.4 บอกจุดประสงค์การเรียนรู้และวิธีการสอน
 2.5 ดําเนินกิจกรรมการสอนตามแผนการสอน ซึ่งขณะดําเนินกิจกรรมครูต้องประเมินการเรียนการสอนตลอดเวลาว่ากิจกรรมนั้นกระตุ้นให้คิดหรือไม่ ผู้เรียนได้แสดงออกจริงไหม เรียนรู้วิทยาศาสตร์หรือไม่ เด็กเรียนอะไรเพิ่มเติม
 2.6 ผูุ้เรียนนําเสนอผลงาน โดยครูวิเคราะห์ผลงานและป้อนข้อมูลกลับให้ผู้เรียน ข้อผิดข้อถูกและข้อความรู้เพิ่มเติม โดยบรรยากาศการเรียนต้องมีความเป็นกันเอง หลีกเลี่ยงการพูดหรือการกระทําที่ทําให้ผู้เรียนเกิดความคับข้องใจหรืออาย ครูต้องตระหนักในความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมแสดงการยอมรับช่วยชี้แนะและเสริมข้อความรู้ที่ทําให้ผู้เรียนค้นพบและเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด
 2.7 จูงใจให้ผู้เรียนสนใจกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ต้องทําให้ผู้เรียนเห็นว่าครูใส่ใจต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเสมอ พร้อมชี้แนะสิ่งที่นําไปสู่การเรียนรตามจุดประสงค์
 2.8 ใกลชิดกับผู้เรียน ติดตามการเรียนรู้เข้าร่วมในการทํางานกับผู้เรียนด้วยการแจกอุปกรณ์ด้วยตนเอง 2.9 สรุปมโนทัศน์เรื่องที่เรียน
 2.10 ให้เด็กทําแบบฝึกทกษะตามมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียน
 2.11 เริ่มการสอนตรงตามเวลาและมีการยืดหยุ่นตามความเหมาะสมของแต่ละกิจกรรม


บทบาทเด็ก

1. ปฏิบัติการคิดและการแสดงออกด้วยตนเองและร่วมกับกลุ่มในการทํากิจกรรมทุกครั้ง
2. ทําแบบฝึกทักษะ
3. นําเสนอผลงาน
4. ประเมินการเรียนรูู้ร่วมกบครู




วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary No.14 | 17 November 2015 (13.30-17.30 pm.) Group.102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.14


บันทึกการเรียน

1. บัวลอย







         ขั้นตอนการทำ

               ฐานที่ 1 
                   นำแป้งและสีผสมอาหาร ผสมให้เข้ากัน



               ฐานที่ 2
                   ปั้นแป้งให้เป็นลูกกลมๆเล็กๆ



               ฐานที่ 3
                   นำแป้งที่เราปั้นไว้ค่อยๆเทใส่ลงไปในน้ำที่เดือด จากนั้นสังเกต เมื่อเม็ดบัวลอย ลอยแล้วให้ตักขึ้นมาราดน้ำกะทิที่เตรียมไว้ เพื่อพร้อมรับประทาน




2.บลูเบอร์รี่ชีสพาย 



          ขั้นตออนการทำ
     
                ฐานที่ 1
                     นำโอริโอ้มาบดผสมเนยที่ละลายไว้เล็กน้อย คลุกเคล้าให้เข้ากัน และอัดให้เข้ารูป
               ฐานที่ 2
                    นำครีมชีส โยเกิร์ต น้ำมะนาว และน้ำตาลไอซ์ซิ่ง มาผสม และค้นให้เข้ากัน
               ฐานที่ 3
                    นำครีมชีสที่คนเข้ากะันแล้วมาราดลงไปบนโอริโอ้ที่อัดรูปไว้แล้ว แล้วราดด้วยแยมบลูเบอร์รี่
               ฐานที่ 4
                    ตกแต่งน่าด้วยช็อกชิฟและเจลลี่ตามใจชอบ

3. ไอศครีม

          อุปกรณ์

              - เกลือ
              - น้ำแข็ง
              - นมจืด
              - นมข้นหวาน
              - วิปปิ้งครีม
              - ท๊อปปี้ต่างๆ
              - ถุงซิน ใบใหญ่ 1 ใบ ใบเล็ก 1 ใบ
              - ตะกร้อตี
              - ชามสำหรับผสม




          ขั้นตอนการทำ

                 1. เพื่อนแนะนำวัตถุดิบ อุปกรณ์ และวิธีการทำ



                 2. ผสมวัตถุดิบต่างๆ



                 3. เทส่วนผสมที่คนจนเข้ากันแล้วลงไปในถุงซินใบเล็ก



                 4. เอาน้ำแข็ง และเกลือเล็กน้อยใส่ลงไปในถุงซินใบใหญ่ จากนั้นก็นำถุงซินใบเล็กที่มีส่วนผสมอยู่ด้านในถุงใส่เข้าไปในถุงซินใบใหญ่ และปิดปากถุง



                 5. เขย่าถุงซินจนส่วนผสมแข็งตัวเป็นไอศรครีม



                 6.ตักออกจากถุงและตกแต่งไอศครีมให้สวยงามตามใจชอบ พร้อมรับประทาน



                     

Diary No.13 | 10 Novamber 2015 (13.30-17.30 pm.) Group.102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.13


บันทึกการเรียน


ทำกิจกรรม ทำ Cooking

  1.  TAGOYAKI RICE (ข้าวทาโกยากิ)

                                               

       วัตถุดิบ
            - ข้าวสวย
            - ไข่ไก่
            - ปูอัด
            - สาหร่าย
            - ซอลปรุงรส
            - มายองเนส
            - เนย
            - ซอลทาโกยากิ


           
       อุปกรณ์
            - เตาทาโกยากิ
            - ตะเกียบ
            - ถ้วย
            - ช้อน
            - หม้อหุงข้าว
            - ทัพพี



       ขั้นตอนการทำ
            ฐานที่ 1 
                ตักไข่ใส่ในถ้วย จากนั้นตักข้าวสวยใส่ลงไป 3 ทัพพี แล้วคนให้เข้ากัน


            ฐานที่ 2
                 ปรุงรส โดยใส่ซอลปรุงรส และใส่ สาหร่าย ปูอัด ตามใจชอบ


            ฐานที่ 3
                 นำเนยมาทาที่หลุมเตาทาโกยากิ จากนั้นนำส่วนผสมที่ปรุงไว้มาเทลงไปในหลุมเตาทาโกยากิ จากนั้นพลิกกลับด้านของส่วนผสมที่เทลงไป ลงจนสุกและตักใส่จาน


             ฐานที่ 4 
                  นำทาโกยากิมาราดด้วยซอลทาโกยากิ มายองเนส และสาหรา่ย




2. WAFFLE (วาฟเฟิล)



       วัตถุดิบ
            - แป้งวาฟเฟิลสำเร็จรูป
            - ไข่ไก่
            - ลูกเกด
            - ซอลช็อกโกแลต
            - ซอลสตรอเบอรี่        
            - นม
            - น้ำเปล่า
            - เนย
            - กลิ่นวลิลา                        
            - วิปปิ้งครีม
            - เม็ดน้ำตาลครบสี




       อุปกรณ์
            - เตาวาฟเฟิล
            - ตะกร้อตีแป้ง
            - ถ้วย
            - จาน (สำหรับใส่วาฟเฟิล)


       ขั้นตอนการทำ
             ฐานที่ 1
                    นำแป้งวาฟเฟิลสำเร็จรูป มาผสมไข่ไก่ น้ำ กลิ่นวลิลา และนม ในถ้วยที่เตรียมไว้ จากนั้นใช้ตะกร้อตีแป้ง ตีให้เข้ากัน



             ฐานที่ 2
                    ทาเนยลงบนเตาวาฟเฟิล และเทส่วนผสมที่ตีจนเข้ากันแล้วลงไปในเตาวาฟเฟิล โรยด้วยลูกเกดอีกทีแล้วปิดเตา




             ฐานที่ 3
                    เมื่อวาฟเฟิลสุกแล้ว ก็นำขึ้นจากเตา



             ฐานที่ 4
                    ตกแต่งวาฟเฟิลของตนเองตามใจต้องการ


Diary No.12 | 3 November 2015 (13.30-17.30 pm.) Group.102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.12


บันทึกการเรียน

                อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ ถึง ข้อบกพร่อง วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในครั้งนี้ ดังนี้

                แผนการสอน คือ การนำวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ที่ตอ้งทำการสอน ตลอดภาคเรียนมาสร้าง เป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใชสื่ออุปกรณ์การสอน การวัดและการประเมินผล สำหรับ เนื้อหาสาระและจุดประสงค์การเรียนการสอนยอ่ยๆ ให้สอดคล้องกัวัตถุประสงค์หรือจุดเน้นของหลักสูตร สภาพผเู้รียน ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุอุปกรณ์และตรงกับชีวิตจริงในท้องถิ่น ซึ่งถ้ากล่าวอีกนัย หนึ่ง แผนการสอนคือ การเตรียมการสอนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า หรือ คือการบันทึกการสอนตามปกติ

                ความสำคัญ ของแผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการสอน เป็นงานสำคัญของครูผู้สอน การสอนจะประสบผลสำเร็จด้วยดีหรือไม่มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการวางแผนการสอนเป็นสำคัญ ประการหนึ่งถ้าผู้อนมีการวางแผนการสอนที่ดี ก็เท่ากับ บรรลุจุดหมายปลายทางไปแล้วครึ่งหนึ่งการวางแผนการสอนจึงมีความสำคัญหลายประการ ดังนี้

               ประโยชน์ของแผนการสอน 
               1. ทำใหเ้กิดการวางแผนวิธีสอนวิธีเรียนที่มีความหมายยิ่งขึ้น เพราะเป็นการจดัทำอย่างมีหลักการที่ถูกต้อง 
               2. ช่วยใหค้รูมีคู่มือการสอนที่ทำด้วยตนเอง ทำใหเ้กิดความสะดวกในการจดัการเรียนการสอน ทำให้สอนได้ครบถ้วนตรงตามหลักสูตร และสอนได้ทันเวลา 
               3.เป็นผลงานวิชาการที่สามารถเผยแพร่เป็นตวัอย่างได้ 
               4. ช่วยให้ความสะดวกแก่ครูผู้มาสอนแทนในกรณีที่ผู้สอนไม่สามารถเข้าสอนได้ ถ้าครูได้ทำ แผนการสอนและใช้แผนการสอนที่จัดทำขึ้นเพื่อนำไปใช้สอนในคราวต่อไป แผนการสอนดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ดังนี้

              องค์ประกอบหลกัของแผนการสอนหรือแผนการจัดการเรียนรู้

              1. จุดประสงค์การเรียนรู้(Objective) คือ สิ่งที่ต้องการใหเ้กิดขึ้นกับผู้เรียน 
                      1.1 พุทธิพิสัย (Cognitive) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางสมอง (Head) ความรู้ใน                              เนื้อหาและทฤษฎี 
                      1.2 ทักษะพิสัย (Skill) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางปฏิบัติ (Hand) 
                      1.3 จิตพิสัย (Affective) คือ จุดประสงค์ที่เน้นคุณธรรม และจิตใจ (Heart)

              2. สาระการเรียนรู้ คือ สาระที่เราจะทำการสอนเด็ก ให้เด็กได้เรียนรู้และประสบการณ์สำคัญเป็นสิ่งที่เด็กได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัย
 
              3. กิจกรรมการเรียนรู้ คือ เป็นรูปแบบของการสอนที่มีขั้นนำ  ขั้นสอน ขั้นสรุป

              4. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ คือ อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอนของแต่ละครั้ง

              5. การวัดและการประเมิน คือ การตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพฤติกรรม หรือลักษณะพึงประสงค์ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
 
              6. บรูณาการ คือ สามารถนำไปบรูณาการใช้งานกับวิชาอื่นและการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไปได้


บรรยากาศภายในห้องเรียน (Classroom Atmosphere)
       - ห้องเรียนไม่อึดอัด แต่ไม่ค่อยสะดวกต่อกรเรียนการสอน



ประเมินตัวเอง (Self - Assessment)

        - ตั้งใจเรียน จดบันทึกระหว่างเรียน


ประเมินเพื่อน (Friend - Assessment)

         - เพื่อนทุกๆคนตั้งใจเรียน และจดบันทึกระหว่างเรียนอยู่เสมอ และช่วยกันตอบคำถามระหว่างเรียน



ประเมินครู (Teacher - Assessment)
- อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา สอนตรงเนื้อหาหลักสูตร แต่งกายสุขภาพ ใช้คำพูดที่เข้าใจง่าย และมีการตั้งคำถาม ถามจนกว่านักศึกษาจะเข้าใจจริงๆ


Diary No.11 | 27 October 2015 (13.30-17.30 pm.) Group. 102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.11


บันทึกการเรียน


กิจกรรมดอกไม้ลอยน้ำ

         - กระดาษเป็นรูปดอกไม้ จากนั้นให้ระบายสีตามใจชอบ และพับกระดาษไปไว้ตรงกลางด้านบน และนำไปลอยในถาดที่มีน้ำ
         - เมื่อนำดอกไม้ไปลอยน้ำ ดอกไม้ก็จะค่อยๆบานออกทีละนิดๆ

สรุป
        - หลักการที่ทำให้ดอกไม้บานได้ เนื่องจากกระดาษดูดซึมน้ำ


กิจกรรมรูไหนไกลกว่า

            - นำน้ำใส่ขวดแล้วนำสก๊อตเทปปิดรูทั้ง 3 รู ไว้
            - ดึงสก๊อตเทปออก และนำเหรียญไปวางไว้ในจุดที่น้ำพุ่งออกมาจากขวด

สรุป
            - จากผลการทดลองพบว่า รูข้างล่างน้ำพุ่งแรงที่สุด


กิจกรรมการทดลอง น้ำพุ

            - นำน้ำใส่ ใส่ต่างระดับกัน และวางไว้ให้ต่ำกว่าระดับน้ำที่วางไว้จากอันแรกที่น้ำพุ่งสูงมากกว่าเดิม

สรุป
            - น้ำไหลจากที่สูงลงที่ต่ำเสมอ


กิจกรรมการเป่าเชือกจากหลอด

         - นำเชือกสอดเข้าใฃไปในหลอดและเป่า
         - ขณะเป่าเชือกไหมพรมก็จะเคลื่อนที่ออกจากหลอด

กิจกรรมการทดลองแรงดันอากาศจากอากาศ (ทฤษฎีของลูกยาง)

            - เมื่อโยนวัตถุขึ้นด้านบน อากาศจะเข้ามาพยุงใต้ปีกกระดาษ จึงสามารถทำให้วัตถุลอยอยู่กลางอากาศได้


กิจกรรมเทียนไขดูดน้ำ

            - เมื่อจุดเทียน แลัวนำแก้วมาคลอบเทียนที่จุดไว้ ไฟจากเทียนที่จุดจะดูดน้ำเข้ามาในแก้วทั้งหมด จากนั้นน้ำก็จะเข้ามาแทนที่อากาศ เทียนก็จะดับลง


กิจกรรมการสะท้อนแสงของกระจก

    - นำกระจกสองแผ่นมาต่อกันและนำรูปภาพมาวางไว้ตรงกลางระหว่างกระจกสองบาม จะพบว่าจะมีรูปภาพอยู่รอบๆ (360องศา) เพราะกระจกเกิดการสะท้อนแสงเงา

วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary No.9| 13 October 2015 (13.30-17.30 pm.) Group. 102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.9


บันการเรียน


          - นำเสนองานวิจัย
                         - เรื่อง การจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                         - การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยได้รับกาจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

          - นำเสนอโทรทัศน์ครู
                         - เรื่อง แรงตึงผิว
                         - เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
                         - เรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์
          - นำเสนอของเล่น
                        - เรื่องเสียง กลองแขก
                        - เรื่อง พลังงาน คานหนังสติ๊ก  
                        - เรื่องเสียง ปี่กระป๋อง


ทักษะ (Skill)
           - ทักษะการนำเสนองาน
           - การคิดวิเคราะห์
           
การประยุกต์ใช้ (Application)
             สามารถนำความรู้ที่เพื่อนนำเสนอมานั้น ไปใช้ประโยชน์ในการประดิษฐ์ของเล่นต่อไป รู้ถึงเรื่องแรงตึงผิว และงานวิจัยต่างๆ

เทคนิคการสอน (Technical Education)
             - สอนให้รู้จักความคิดร่วมยอด


การประเมิน (Evaluation)
                - เพื่อนและตัวข้าพเจ้า ตั้งใจเรียนดี แต่งกายสุขภาพเรียบร้อย มีการจดบันทึกระหว่างการเรียน และช่วยกันตอบคำถามภายในชั้นเรียน
                - ครูผู้สอน เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุขภาพ ใช้คำพูดที่สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย ใช้คำถามทดสอบความรู้ความเข้าใจนักศึกษาได้ดี

Diary No.10 | 20 October 2015 (13.30-17.30 pm.) Group. 102

Science Experiences Management for Early Childhood

Diary Note No.10


            - เลขที่ 11 นำเสนอบทความ เรื่อง ทำอาหาร กิจจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ในเด็กปฐมวัย
            - เลขที่ 12 นำเสนอบทความ เรื่อง เรียนรู้อยู่รอด


            - นำเสนอของเล่น
                           - ของเล่นที่เด็กทำได้เอง : เรือน้อยลอยไป

 

                           - ของเล่นมุมประสบการณ์ : จับคู่เสียง


                           - ของเล่นทดลอง : จรวดลูกโป่ง



                           - ของเล่นทดลอง : ผีเสื้อ

 

                           - ของเล่นทดลอง : แรงตึงผิว